เวิร์คช็อป การแปล(ง)ละครเวทีโดย Alfian Sa’at
15 November, 2019 13:00 - 15:00 hours
15 พฤศจิกายน 2561 13.00 - 15.00 น.
Venue: Room 319, Chamchuri 10 Bldg., Chulalongkorn University [click for map]
สถานที่: ห้อง 319 อาคารจามจุรี 10 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [คลิกเพื่อดูแผนที่]
Translation for theatre has become an increasingly common practice in multicultural and multilingual societies. And yet translation is often perceived as a technical linguistic skill rather than an art form in its own right. What is the difference between a translation and an adaptation of a play? Should we ‘foreignise’ the translation of a play, by retaining traces of the source language, or should we ‘domesticate’ it, such that it reads ‘smoothly’ in the target language?
การแปลเพื่อละครเวทีเป็นสิ่งที่กำลังแพร่หลายในสังคมพหุภาษาและวัฒนธรรม กระนั้น การแปลมักถูกมองว่าเป็นเรื่องของทักษะทางภาษามากกว่าจะเป็นศิลปะแบบหนึ่งด้วยตัวของมันเอง มาร่วมหาคำตอบไปด้วยกันว่าอะไรคือความแตกต่างระหว่างการแปลและการดัดแปลงละครเวที ในการแปลบทละครเวที เราควรจะ “รักษาความแปลกต่าง” โดยคงร่องรอยของภาษาดั้งเดิมเอาไว้ หรือการแปลคือการ “ทำให้กลมกลืน” เพื่อให้เกิดการอ่านที่ “ลื่นไหล” ในภาษาปลายทาง
In this workshop, participants will explore various translation theories and apply them to theatre texts from Thailand. What best practices can we co-create for the translation of Thai plays for a non-Thai-speaking audience? And what are the strategies for subtitling performances such that they become integrated into the world of the play?
เวิร์คช็อปนี้จะพาผู้เข้าร่วมไปสำรวจทฤษฏีการแปลต่างๆ พร้อมทั้งการประยุกต์ทฤษฏีเข้ากับการแปลบทละครจากประเทศไทย เราต้องการหาคำตอบว่าอะไรคือการสร้างสรรค์ร่วมกันที่ดีที่สุดสำหรับการแปลบทละครไทยเพื่อคนอ่านที่ไม่สามารถอ่านภาษาได้ และอะไรคือกลยุทธ์ในการทำซับไทเทิลการแสดงเพื่อให้เกิดการผสมผสานอย่างกลมกลืนเข้าไปในโลกของบทละคร
Maximum no. of participants: 15
จำนวนผู้เข้าร่วมไม่เกิน 15 คน
Participants should know at least a minimum of two languages.
ผู้เข้าร่วมควรรู้อย่างน้อย 2 ภาษา
Workshop is conducted in English.
ดำเนินเวิร์คช็อปเป็นภาษาอังกฤษ Registration can be made upon your BIPAM PASS registration
About the Facilitator
Alfian Sa’at is the Resident Playwright of W!LD RICE, a theatre company based in Singapore. He has won the Life! Theatre Awards four times for his English-language play Landmarks: Asian Boys Vol. 2, his Malay-language plays Nadirah and Kakak Kau Punya Laki (Your Sister’s Damned Husband) and the multilingual Hotel (with Marcia Vanderstraaten). He has translated his own plays as well as the plays of Malaysian playwright Ridhwan Saidi from Malay into English. His translation of Mohamad Latiff Mohamad’s novel The Widower was nominated for the Singapore Literature Prize in 2017.
Alfian Sa’at เป็นนักเขียนบทละครในพำนักของกลุ่มละคร W!LD RICE ประเทศสิงคโปร์ Alfian Sa’at ได่้รับรางวัล Theatre Awards สี่ครั้ง จากบทละครภาษาอังกฤษเรื่อง Landmarks: Asian Boys Vol. 2 และบทละครภาษามาเลย์เรื่อง Nadirah and Kakak Kau Punya Laki (Your Sister’s Damned Husband) และ The Multilingual Hotel ที่เขียนร่วมกับ Marcia Vanderstraaten นอกจากนั้น Alfian Sa’at แปลผลงานบทละครของตัวเองและบทละครของนักเขียนบทละครชาวมาเลเซีย Ridhwan Saidi จากภาษามาเลย์เป็นภาษาอังกฤษ งานแปลนวนิยายเรื่อง The Widower ที่ประพันธ์โดย Mohamad Latiff Mohamad’ ของเขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Singapore Literature Prize ในปี 2017
Comments